teerapon12
November 18th, 2014, 09:07
อีโบลา เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลันรุนแรง เกิดจากเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus) ซึ่งอยู่ในตระกูล Filoviridae family ประกอบด้วย 5 สายพันธุ์ (species)
ได้แก่ สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ สายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์อี สายพันธุ์เรสตัน (Reston) และสายพันธุ์ Bundibugyo โดยสายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์อี และสายพันธุ์ Bundibugyo
ทำให้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในทวีปอาฟริกาและทำให้มีอัตราป่วยตายประมาณ ร้อยละ 25-90 ในขณะที่ สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ และสายพันธุ์เรสตัน (Reston) โดยมากไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรง
และยังไม่มีรายงานการตายจากสายพันธุ์เรสตัน (Reston) โรคไวรัสอีโบลา หรือที่เรียกกันว่าโรคไข้เลือดออกอีโบลานั้น ในคนถือว่าเป็นโรคที่อันตรายสาหัสถึงแก่ชีวิตได้เลยเชียว
การระบาดของโรคไวรัสอีโบลา มีอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยมากถึง 90% การระบาดของโรคไวรัสอีโบลาเริ่มมาจากหมู่บ้านที่ห่างไกลแห่งหนึ่งในตอนกลางและฝั่งตะวันตกของแอฟริกา ใกล้ป่าดิบชื้น
ไวรัสอีโบลาแพร่จากสัตว์ป่ามาสู่มนุษย์ และกระจายในประชากรมนุษย์โดยการติดต่อจากคนสู่คนด้วยกัน สภาพทางปรสิตวิทยาในธรรมชาติของไวรัสนั้นเชื่อว่าเชื้อไวรัสอีโบลาอาศัยอยู่ในตัวของค้างคาวผลไม้ (fruit bats: natural host)
ผู้ป่วยขั้นรุนแรงต้องได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด และยังไม่มีวิธีการรักษาที่จำเพาะแน่นอนหรือไม่มีแม้แต่วัคซีนที่จะสามารถใช้รักษาโรคไวรัสอีโบลาทั้งในมนุษย์และสัตว์ได้
บางคนเข้าใจผิดว่าเชื้อไวรัสอีโบลา สามารถติดต่อทางอากาศ น้ำดื่ม และการกินอาหาร แต่โดยแท้จริง แล้วผิดหมดทุกอย่าง เชื้อไวรัส Ebola จะติดต่อได้โดยการสัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลั่ง ดังเช่น เลือด น้ำมูก น้ำเหลือง น้ำลาย ของใช้ของผู้ป่วย ฯลฯ
รวมทั้งการนำสัตว์ที่ป่วย หรือติดเชื้อมาทำเป็นอาหาร โดยเชื้อจะเข้าไปทางเยื่อบุในปาก และทางเดินอาหาร, เยื่อบุตา และแผลบนผิวหนัง โดยจะเริ่มออกอาการภายใน โดยจะเริ่มออกอาการภายในราวๆ 7 วัน ซึ่งการติดต่อสู่ผู้อื่นนั้นยังอยู่ในระดับต่ำ
แต่จะติดต่อได้ง่ายขึ้นเมื่อผู้ป่วยอยู่ในระยะท้ายของโรค
สัญญาณ และอาการของโรค
อาการป่วยที่รุนแรงถึงชีวิต อาการที่เกิดตั้งแต่แรกเริ่มทันทีทันใดเลยคือ มีไข้ รู้สึกอ่อนแรงอย่างมาก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดหัว เจ็บคอ และมีอาการที่ตามมาคือ อาเจียน ท้องเสีย มีผื่นคัน ตับและไตทำงานบกพร่อง
และในผู้ป่วยบางรายมีอาการตกเลือดทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เมื่อตรวจทางห้องทดลองพบว่ามีปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาวต่ำ มีเกล็ดเลือดต่ำ และเอนไซม์จากตับมีค่าสูง ผู้ป่วยจะมีเลือดและสารคัดหลั่งต่างๆที่มีเชื้อไวรัส
และสามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลาได้จากน้ำอสุจิของผู้ป่วยที่มีอาการป่วยผ่านไปแล้ว 61 วัน ระยะเวลาในการฟักตัวของเชื้อนั้นอยู่ในช่วงตั้งแต่เริ่มติดเชื้อจนกระทั่งมีอาการของโรคใช้เวลาประมาณ 2-21 วัน
โรคนี้ป้องกันได้อย่างไร??
ตอนนี้ยังไม่มีวัคซีนที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ป้องกันโรคไวรัส อีโบลา (http://www.dst.or.th/html/index.php?op=article-detail&id=1227&cid=12#.VGqlO_mSwRo) มีวัคซีนหลายชนิดที่อยู่ระหว่างการทดสอบแต่ยังไม่มีชนิดใดเลยที่จะนำมาใช้ทางคลินิกได้
แนวทางที่จะลดการป่วยและเสียชีวิตจากโรคนี้คือการสร้างความตระหนักเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของโรคและกำหนดมาตรการที่ประชาชนพึงจะปฏิบัติเพื่อป้องกันตนเองเท่านั้น
วิธีป้องกันการติดเชื้อ
- ลดการจับต้องคลุกคลีกับสัตว์ที่มีความเสี่ยงสูง (ได้แก่ ค้างคาวผลไม้ ลิง และลิงเอพ) ในป่าฝนพื้นที่ที่มีโรค
- ควรบริโภคอาหารโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ต่างๆและเลือดที่ปรุงสุกและสะอาดเสมอ
- เมื่อให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย ให้สวมถุงมือและใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง
- ภายหลังเยี่ยมผู้ป่วยในโรงพยาบาลหรือให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน ให้ล้างมือเป็นประจำ
- ศพของผู้ตายจากโรคไวรัสอีโบลาควรมีอุปกรณ์ห่อหุ้มที่มิดชิด และควรนำไปฝังโดยทันทีทันใด
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารคัดหลั่ง ตัวอย่างเช่น เลือด หรือสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่อาจปนเปื้อนกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย หรือศพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ถ้ามีความจําเป็นให้สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย และล้างมือบ่อยๆหากมีอาการเริ่มป่วย อย่างเช่น มีไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
เจ็บคอ อ้วก ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว ให้รีบพบหมอทันที
- หมั่นทำความสะอาดบ้านและสถานที่อยู่ให้สะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ เครื่องพ่นยูแอลวี (http://www.enrichfogger.com/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%AD%E0%B8%A2-ulv-mc-fog-60) สำหรับพ่นฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา เชื้อไว้รัส หรือใช้พ่นฆ่าแมลงซึ่งเป็นพาหะนำโรค อย่างเช่น ยุง แมลงบินและแมลงคลานในสถานที่ต่างๆ
ตัวอย่างเช่น อาคารบ้านเรือน,โกดัง,สถานที่,โรงงาน,โฮเต็ล,โรงพยาบาล,ฟาร์มเลี้ยงสัตว์,เครื่องบิน,รถยนต์, ฯลฯ
เครื่องพ่นยูแอลวี เหมาะสมกับการพ่นในทุกทำเล ทั้งภายในและภายนอกอาคาร เพื่อการฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย รวมไปถึงงานกำจัดแมลงชนิดต่างๆ
งานฆ่าเชื้อไวรัสและควบคุมการระบาดของโรคไข้หวัดนก (H1N1) การฆ่าเชื้อและป้องกันการระบาดของโรคหลังจากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ อย่าง น้ำท่วม, แผ่นดินไหว ฯลฯ งานฆ่าเชื้อและการกำจัดแมลง
ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร,โรงพยาบาล, ฟาร์มสัตว์, โรงเรียน, ห้าง, บ้านพักอาศัย เป็นต้น เครื่องพ่นยูแอลวี ใช้พ่นฆ่าเชื้อโรคและแบคทีเรียในยานพาหนะต่างๆได้ เช่น เครื่องบิน, รถไฟ, เรือขนส่งสินค้า, รถยนต์ ฯลฯ
เครื่องพ่นยูแอลวี มีระยะการพ่นละอองเคมีได้ไกลถึง 10 เมตร สามารถปรับขนาดของละอองฝอยได้ง่าย โดยการหมุนปรับที่หัวพ่นของตัวเครื่องพ่นยูแอลวี เครื่องพ่นยูแอลวีเหมาะสำหรับการพ่นในทุกพื้นที่
เครื่องพ่นยูแอลวี สามารถพ่นได้ทั้งภายนอกอาคารและภายในอาคาร ท่อพ่นลักษณะเป็นงวงช้าง เหมาะสำหรับการเข้าถึงในพื้นที่แคบๆ
เครื่องพ่นยูแอลวี ผลิตจากประเทศเกาหลี นำเข้าโดยบริษัท เอ็นริชฟ็อกเกอร์ จำกัด ศูนย์รวมในการจำหน่าย เครื่องพ่นหมอกควัน (http://www.enrichfogger.com/) พ่นยุงและแมลงชนิดต่างๆ เครื่องพ่นยูแอลวี นำเข้าโดยตรง และไม่ผ่านเอเย่นใดๆ
คงทน คุ้มค่าเมื่อเทียบกับคุณภาพเครื่อง เอ็นริช ฟ็อกเกอร์ เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ทางด้านนำเข้าเครื่องพ่นหมอกควัน, เครื่องพ่นยูแอลวี สำหรับพ่นฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา เชื้อไว้รัส และอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้กำจัดยุงและแมลง
มาตรฐานสากลและตรงกับการกำจัดแมลงชนิดต่างๆ และเป็นผู้นำเข้าโดยตรงเกี่ยวกับเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆจากทั่วโลกที่ได้มาตรฐานที่เชื่อถือได้
ได้แก่ สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ สายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์อี สายพันธุ์เรสตัน (Reston) และสายพันธุ์ Bundibugyo โดยสายพันธุ์ซูดาน สายพันธุ์ซาร์อี และสายพันธุ์ Bundibugyo
ทำให้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในทวีปอาฟริกาและทำให้มีอัตราป่วยตายประมาณ ร้อยละ 25-90 ในขณะที่ สายพันธุ์ไอวอรีโคสต์ และสายพันธุ์เรสตัน (Reston) โดยมากไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรง
และยังไม่มีรายงานการตายจากสายพันธุ์เรสตัน (Reston) โรคไวรัสอีโบลา หรือที่เรียกกันว่าโรคไข้เลือดออกอีโบลานั้น ในคนถือว่าเป็นโรคที่อันตรายสาหัสถึงแก่ชีวิตได้เลยเชียว
การระบาดของโรคไวรัสอีโบลา มีอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยมากถึง 90% การระบาดของโรคไวรัสอีโบลาเริ่มมาจากหมู่บ้านที่ห่างไกลแห่งหนึ่งในตอนกลางและฝั่งตะวันตกของแอฟริกา ใกล้ป่าดิบชื้น
ไวรัสอีโบลาแพร่จากสัตว์ป่ามาสู่มนุษย์ และกระจายในประชากรมนุษย์โดยการติดต่อจากคนสู่คนด้วยกัน สภาพทางปรสิตวิทยาในธรรมชาติของไวรัสนั้นเชื่อว่าเชื้อไวรัสอีโบลาอาศัยอยู่ในตัวของค้างคาวผลไม้ (fruit bats: natural host)
ผู้ป่วยขั้นรุนแรงต้องได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด และยังไม่มีวิธีการรักษาที่จำเพาะแน่นอนหรือไม่มีแม้แต่วัคซีนที่จะสามารถใช้รักษาโรคไวรัสอีโบลาทั้งในมนุษย์และสัตว์ได้
บางคนเข้าใจผิดว่าเชื้อไวรัสอีโบลา สามารถติดต่อทางอากาศ น้ำดื่ม และการกินอาหาร แต่โดยแท้จริง แล้วผิดหมดทุกอย่าง เชื้อไวรัส Ebola จะติดต่อได้โดยการสัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลั่ง ดังเช่น เลือด น้ำมูก น้ำเหลือง น้ำลาย ของใช้ของผู้ป่วย ฯลฯ
รวมทั้งการนำสัตว์ที่ป่วย หรือติดเชื้อมาทำเป็นอาหาร โดยเชื้อจะเข้าไปทางเยื่อบุในปาก และทางเดินอาหาร, เยื่อบุตา และแผลบนผิวหนัง โดยจะเริ่มออกอาการภายใน โดยจะเริ่มออกอาการภายในราวๆ 7 วัน ซึ่งการติดต่อสู่ผู้อื่นนั้นยังอยู่ในระดับต่ำ
แต่จะติดต่อได้ง่ายขึ้นเมื่อผู้ป่วยอยู่ในระยะท้ายของโรค
สัญญาณ และอาการของโรค
อาการป่วยที่รุนแรงถึงชีวิต อาการที่เกิดตั้งแต่แรกเริ่มทันทีทันใดเลยคือ มีไข้ รู้สึกอ่อนแรงอย่างมาก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดหัว เจ็บคอ และมีอาการที่ตามมาคือ อาเจียน ท้องเสีย มีผื่นคัน ตับและไตทำงานบกพร่อง
และในผู้ป่วยบางรายมีอาการตกเลือดทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เมื่อตรวจทางห้องทดลองพบว่ามีปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาวต่ำ มีเกล็ดเลือดต่ำ และเอนไซม์จากตับมีค่าสูง ผู้ป่วยจะมีเลือดและสารคัดหลั่งต่างๆที่มีเชื้อไวรัส
และสามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลาได้จากน้ำอสุจิของผู้ป่วยที่มีอาการป่วยผ่านไปแล้ว 61 วัน ระยะเวลาในการฟักตัวของเชื้อนั้นอยู่ในช่วงตั้งแต่เริ่มติดเชื้อจนกระทั่งมีอาการของโรคใช้เวลาประมาณ 2-21 วัน
โรคนี้ป้องกันได้อย่างไร??
ตอนนี้ยังไม่มีวัคซีนที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ป้องกันโรคไวรัส อีโบลา (http://www.dst.or.th/html/index.php?op=article-detail&id=1227&cid=12#.VGqlO_mSwRo) มีวัคซีนหลายชนิดที่อยู่ระหว่างการทดสอบแต่ยังไม่มีชนิดใดเลยที่จะนำมาใช้ทางคลินิกได้
แนวทางที่จะลดการป่วยและเสียชีวิตจากโรคนี้คือการสร้างความตระหนักเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของโรคและกำหนดมาตรการที่ประชาชนพึงจะปฏิบัติเพื่อป้องกันตนเองเท่านั้น
วิธีป้องกันการติดเชื้อ
- ลดการจับต้องคลุกคลีกับสัตว์ที่มีความเสี่ยงสูง (ได้แก่ ค้างคาวผลไม้ ลิง และลิงเอพ) ในป่าฝนพื้นที่ที่มีโรค
- ควรบริโภคอาหารโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ต่างๆและเลือดที่ปรุงสุกและสะอาดเสมอ
- เมื่อให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย ให้สวมถุงมือและใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง
- ภายหลังเยี่ยมผู้ป่วยในโรงพยาบาลหรือให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน ให้ล้างมือเป็นประจำ
- ศพของผู้ตายจากโรคไวรัสอีโบลาควรมีอุปกรณ์ห่อหุ้มที่มิดชิด และควรนำไปฝังโดยทันทีทันใด
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารคัดหลั่ง ตัวอย่างเช่น เลือด หรือสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วยที่อาจปนเปื้อนกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วย หรือศพของผู้ป่วยที่เสียชีวิต
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ถ้ามีความจําเป็นให้สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย และล้างมือบ่อยๆหากมีอาการเริ่มป่วย อย่างเช่น มีไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
เจ็บคอ อ้วก ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว ให้รีบพบหมอทันที
- หมั่นทำความสะอาดบ้านและสถานที่อยู่ให้สะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ เครื่องพ่นยูแอลวี (http://www.enrichfogger.com/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%AD%E0%B8%A2-ulv-mc-fog-60) สำหรับพ่นฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา เชื้อไว้รัส หรือใช้พ่นฆ่าแมลงซึ่งเป็นพาหะนำโรค อย่างเช่น ยุง แมลงบินและแมลงคลานในสถานที่ต่างๆ
ตัวอย่างเช่น อาคารบ้านเรือน,โกดัง,สถานที่,โรงงาน,โฮเต็ล,โรงพยาบาล,ฟาร์มเลี้ยงสัตว์,เครื่องบิน,รถยนต์, ฯลฯ
เครื่องพ่นยูแอลวี เหมาะสมกับการพ่นในทุกทำเล ทั้งภายในและภายนอกอาคาร เพื่อการฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย รวมไปถึงงานกำจัดแมลงชนิดต่างๆ
งานฆ่าเชื้อไวรัสและควบคุมการระบาดของโรคไข้หวัดนก (H1N1) การฆ่าเชื้อและป้องกันการระบาดของโรคหลังจากเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ อย่าง น้ำท่วม, แผ่นดินไหว ฯลฯ งานฆ่าเชื้อและการกำจัดแมลง
ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร,โรงพยาบาล, ฟาร์มสัตว์, โรงเรียน, ห้าง, บ้านพักอาศัย เป็นต้น เครื่องพ่นยูแอลวี ใช้พ่นฆ่าเชื้อโรคและแบคทีเรียในยานพาหนะต่างๆได้ เช่น เครื่องบิน, รถไฟ, เรือขนส่งสินค้า, รถยนต์ ฯลฯ
เครื่องพ่นยูแอลวี มีระยะการพ่นละอองเคมีได้ไกลถึง 10 เมตร สามารถปรับขนาดของละอองฝอยได้ง่าย โดยการหมุนปรับที่หัวพ่นของตัวเครื่องพ่นยูแอลวี เครื่องพ่นยูแอลวีเหมาะสำหรับการพ่นในทุกพื้นที่
เครื่องพ่นยูแอลวี สามารถพ่นได้ทั้งภายนอกอาคารและภายในอาคาร ท่อพ่นลักษณะเป็นงวงช้าง เหมาะสำหรับการเข้าถึงในพื้นที่แคบๆ
เครื่องพ่นยูแอลวี ผลิตจากประเทศเกาหลี นำเข้าโดยบริษัท เอ็นริชฟ็อกเกอร์ จำกัด ศูนย์รวมในการจำหน่าย เครื่องพ่นหมอกควัน (http://www.enrichfogger.com/) พ่นยุงและแมลงชนิดต่างๆ เครื่องพ่นยูแอลวี นำเข้าโดยตรง และไม่ผ่านเอเย่นใดๆ
คงทน คุ้มค่าเมื่อเทียบกับคุณภาพเครื่อง เอ็นริช ฟ็อกเกอร์ เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ทางด้านนำเข้าเครื่องพ่นหมอกควัน, เครื่องพ่นยูแอลวี สำหรับพ่นฆ่าเชื้อโรค เชื้อรา เชื้อไว้รัส และอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้กำจัดยุงและแมลง
มาตรฐานสากลและตรงกับการกำจัดแมลงชนิดต่างๆ และเป็นผู้นำเข้าโดยตรงเกี่ยวกับเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆจากทั่วโลกที่ได้มาตรฐานที่เชื่อถือได้